สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
มารยาทไทย
โรงเรียนพิชัยพัฒนา
กระบวนการพัฒนา

            ๑. วางแผนการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการ เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๓   

                   - ประชุมเพื่อเตรียมงาน และแบ่งฝ่ายปฏิบัติตามความเหมาะสม  

                   - สำรวจวัสดุอุปกรณ์ สำหรับดำเนินกิจกรรม     

          ๒. กำหนดกรอบการจัดกิจกรรม     

                   - เดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม ๒๕๖๓ 

          ๓. ดำเนินการกิจกรรมตามกำหนดการ  

                   -ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ ( ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓)  

                   - จัดกิจกรรมหน้าเสาธง ทุกวันศุกร์ สอนและสาธิตการไหว้ในโอกาสต่างๆ   

                   - จัดกิจกรรมสอดแทรก หน้าแถวตอนเช้า  ในคาบเรียน ตักเตือนเมื่อพบเห็นตามเหตุการณ์และโอกาส

                   - กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ได้แก่ การกราบเบญจางคประดิษฐ์และการไหว้ ๓ ระดับ

 (๒๘ กันยายน – ๙ ตุลาคม  ๒๕๖๓)

         ายละเอียดของการประกวดมารยาทไทย  มีดังนี้

           คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน         นักเรียนระดับชั้น อ.๑- ป.๖ 

           . ประเภทและจำนวนผู้เข้าแข่งขัน

          .๑ แข่งขันประเภทคู่ (ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเป็นชาย ๑ หญิง ๑)

                             ๒..๑ จำนวนผู้เข้าแข่งขัน

          - ระดับชั้นอนุบาล ๑-๒   จำนวน ๒  คู่  ตัวแทนสายชั้นละ   ๒   คน

          - ระดับชั้นป. ๑-๓         จำนวน ๓  คู่  ตัวแทนสายชั้นละ   ๒   คน

          - ระดับชั้นป. ๔-๖         จำนวน ๓  คู่  ตัวแทนสายชั้นละ   ๒   คน

                   .๒ แข่งขันประเภททีม

                             ..๑ จำนวนผู้เข้าแข่งขัน

          - ระดับชั้นอนุบาล ๑-๒   จำนวน ๒ ทีม  ทีมละ     ๑   ห้องเรียน (ตัวแทนสายชั้น)

          - ระดับชั้นป. ๑-๓         จำนวน ๓  ทีม  ทีมละ    ๑  ห้องเรียน (ตัวแทนสายชั้น)

                     - ระดับชั้นป. ๔-๖         จำนวน ๓  ทีม  ทีมละ    ๑  ห้องเรียน (ตัวแทนสายชั้น)

          . วิธีดำเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน

          .  ประชาสัมพันธ์การประกวดมารยาทไทย                                     

          .  ให้มีการคัดเลือกและประกวดในสายชั้นก่อนโดยให้สิทธิ์ครูในสายชั้นเป็นผู้ตัดสิน  จึงส่งเข้าประกวดในนามตัวแทนสายชั้น ทั้ง ๒ ประเภท (เริ่มคัดเลือก ๒๘ ก.ย. – ๒ ต.ค.๖๓)

          ๓.๓  ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขันที่ ครูชนัฏ จิตรอรุณ ภายในวันศุกร์ที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๓

          ๓.๔  รายละเอียดการแข่งขัน      

                              .ท่าบังคับ  ผู้เข้าประกวดทุกคนจะต้องปฏิบัติ

                    ๑.๑ กราบเบญจางคประดิษฐ์ (ทุกระดับชั้น)

                    ๑.๒ ท่าไหว้ ๓ ระดับ

-  ระดับ ๑ ไหว้พระ , ไหว้โบราณสถาน , ไหว้โบราณวัตถุทางพระพุทธ 

-  ระดับ ๒  ไหว้ผู้มีพระคุณ เช่น  พ่อแม่  ปู่ย่าตายาย  ครูอาจารย์

-  ระดับ  ไหว้ผู้ที่เคารพนับถือโดยทั่วไปรวมถึงผู้เสมอกัน

๒. วิธีการประกวดผู้เข้าประกวดจะต้องเข้าประกวดพร้อมกันทั้งชายหญิง

                    ๓.๕  ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด          

เกณฑ์การให้คะแนน ๑๐๐  คะแนน

          ๔.๑  ความถูกต้อง                                         ๔๐  คะแนน

          ๔.๒ ความสวยงามของท่าทาง                             ๔๐  คะแนน

          ๔.๓  ทักษะความเป็นธรรมชาติ/ความพร้อมเพรียง      ๒๐   คะแนน

.  เกณฑ์การตัดสิน

          ทีมที่ได้คะแนนรวมมากที่สุด ถือเป็นผู้ชนะ

. วันและเวลาแข่งขัน

         - ระดับชั้นอนุบาล ๑-๒   วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๓           เวลา ๐๘.๓๐๑๐.๓๐ น.

- ระดับชั้นป. ๑-๓         วันพฤหัสบดีที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓   เวลา ๐๘.๓๐๑๑.๓๐ น.

         - ระดับชั้นป. ๔-๖         วันศุกร์ที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๓         เวลา ๐๘.๓๐๑๑.๓๐น.

. สรุปผลและรายงานผล 

 


ผลจากการปฏิบัติ

          ๑. จากการจัดกิจกรรมการประกวดมารยาทไทย นักเรียนปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทยที่ถูกต้องงดงาม  

          ๒. นักเรียนแสดงความเคารพได้ถูกต้อง

          ผลด้านปริมาณ

          นักเรียน ร้อยละ ๑๐๐ เข้าร่วมกิจกรรม

          ผลด้านคุณภาพ

          ๑. นักเรียน ร้อยละ ๘๗.๗๘ เป็นผู้มีมารยาทงาม

          ๒. นักเรียน ร้อยละ ๘๙.๔๒ แสดงความเคารพตามมารยาทไทยได้ถูกต้อง

             ผลจากการดำเนินกิจกรรม ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทที่ดี  เช่น การกราบไหว้แบบไทย การทำความเคารพที่ถูกต้องสวยงาม มีความสุภาพอ่อนน้อม เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย เป็นผู้ที่มีส่วนช่วยในการสืบทอด  อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทย และผู้เรียนสามารถนำไปใช้ปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันได้