1. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
2. กำหนดแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC ระดับสถานศึกษา
3. การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
4. กำกับ ติดตามนิเทศและประเมินผล
5. สรุปรายงานผลการดำเนินการการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
6. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน และยกย่องเชิดชูเกียรติการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา
๑. นักเรียนมีการประเมินการอ่านของนักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับ ๓ ขึ้นไป ร้อยละ ๖๐
ระดับชั้น |
จำนวนนักเรียน |
ระดับคุณภาพ |
จำนวน นร. ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป |
|||
๑ |
๒ |
๓ |
๔ |
|||
ป.๑ |
10 |
2 |
2 |
4 |
2 |
6 |
ร้อยละ |
100.00 |
20.00 |
20.00 |
40.00 |
20.00 |
๖0.00 |
จากตารางที่
1 พบว่า
ผลประเมินการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน ๑๐ คน อยู่ในระดับอ่านได้ขึ้นไป
คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๐๐
๒.
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ มีผลการทดสอบระดับชาติ (Reading Test:
RT) ความสามารถในการอ่าน ระดับดี ขึ้นไปร้อยละ ๘๐
ปีการศึกษา ๒๕๖๔