สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ผ่านการสอนแบบ Active Learning การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกและการนิเทศภายในแนวใหม่ ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) มุ่งสู่มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
โรงเรียนสุเหร่าสนามกลางลำ
กระบวนการพัฒนา

การดำเนินงานของโครงการ

วิธีการดำเนินงาน

                  โรงเรียนสุเหร่าสนามกลางลำ ได้ดำเนินโครงการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในปีการศึกษา 2561  โดยนางสาวกัญพร  ชารีกุลเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ  วิธีการดำเนินงานนั้นมีหลายวิธี  เช่น  การนำเสนอโครงการต่างๆ  ให้ผู้บริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติ  การเสนอกิจกรรมในที่ประชุม  แล้วแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการโครงการ   ซึ่งมีหลายกิจกรรมรายละเอียดของแต่ละกิจกรรมจะปรากฏในภาคผนวก  ตัวอย่างกิจกรรมที่ดำเนินการในโครงการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญประจำปีการศึกษา 2561 มีดังนี้

 

1. กิจกรรมปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

(PLC) ตามโครงการ ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ผ่านการสอนแบบ active learning การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกและการนิเทศภายในแนวใหม่ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) มุ่งสู่มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

2. การเรียนรู้แบบบูรณาการ

                                     ชื่อกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วิธีดำเนินการ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

กลุ่มเป้าหมาย

(ด้านปริมาณ)

เป้าหมาย

( ด้านคุณภาพ)

ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ตามโครงการ ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ผ่านการสอนแบบ active learning การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกและการนิเทศภายในแนวใหม่ตามแนวคิชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) มุ่งสู่มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

 

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมาก

ยิ่งขึ้น

2. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ ในการนำมาพัฒนาตนเองของครู

3. นักเรียนมีผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น

 

๑. ครูมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Co-5 steps

2. นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในกับผู้เรียน

3. นำผลจากการจัดการเรียนรู้ไปสะท้อนเพื่อแก้ไขและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ในแผนถัดไป

1. ร้อยละ 100 ของครูมีการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้แบบ

Co-5 steps

2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีผล

สัมฤทธิ์ทางการ

เรียนเพิ่มขึ้น

 

1. ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ

Co-5 steps

2. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง

3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เพิ่มขึ้น

 

 

 

 

นางสาวรุจิรา

สุทธหลวง

                                     ชื่อกิจกรรม

วัตถุประสงค์

วิธีดำเนินการ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ผู้รับผิดชอบ

กลุ่มเป้าหมาย

(ด้านปริมาณ)

เป้าหมาย

( ด้านคุณภาพ)

การเรียนรู้แบบบูรณาการ

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ ในการนำมาพัฒนาตนเองของครู

3. เพื่อคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน

4. นักเรียนมีผล

สัมฤทธิ์ทางการ

เรียนเพิ่มขึ้น

1. แต่งตั้งคณะทำงาน

2.กำหนด วัน เวลา สถานที่ ในการจัดกิจกรรม

3. จัดกิจกรรมตามที่กำหนด

4. สรุปผลการจัดกิจกรรม

1. ร้อยละ 100 ของครูมีการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้แบบ

Co-5 steps

2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีผล

สัมฤทธิ์ทางการ

เรียนเพิ่มขึ้น

 

1. ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ

Co-5 steps

2. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง

3. นักเรียนมีผล

สัมฤทธิ์ทางการ

เรียนเพิ่มขึ้น

 

นางสาวรุจิรา

สุทธหลวง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


ผลจากการปฏิบัติ

สรุปผลการดำเนินการโครงการ

โครงการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ตามโครงการ ปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน ผ่านการสอนแบบ active learning การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกและการนิเทศภายในแนวใหม่ตามแนวคิชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) มุ่งสู่มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครและกิจกรรม การเรียนรู้แบบบูรณาการทำให้ครูมีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และทำให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นตลอดจนครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกันจึงทำให้มีเทคนิคการสอนเพิ่มมากขึ้นและนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น