ขั้นวางแผน (P)
คัดกรองนักเรียนและจัดแบ่งกลุ่มนักเรียน
1. ประเมินทักษะการอ่านภาษาไทยของนักเรียน
-
อ่านคำพื้นฐาน
-
การบันทึกการอ่าน
- ประเมินผล
2. แบ่งกลุ่มนักเรียน (นำผลจากการอ่านมาวิเคราะห์)
- กลุ่มที่ 1 นักเรียนอ่านภาษาไทยคล่อง
- กลุ่มที่ 2 นักเรียนอ่านภาษาไทยไม่คล่อง
- กลุ่มที่ 3 นักเรียนที่อ่านภาษาไทยไม่ออก
3
กำหนดกิจกรรม
นักเรียนที่อ่านภาษาไทยไม่ออก
- อ่านหนังสือกับครู
- อ่านนวัตกรรมที่ ผอ. สร้างขึ้น
- อ่านหนังสือที่อยากขึ้นตามลำดับ
ขั้นดำเนินงาน (D)
ดำเนินงานอ่าน
ตามกิจกรรมตลอดปีการศึกษา 2563
1.
ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน (C)
1.1. วิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนที่มีปัญหาการอ่านไม่ออก เช่น ผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐานการ อ่าน การจัดการเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ของสมองเด็ก (BBL)
1.2. ประชุมสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรและผู้ปกครอง ให้เห็นความสำคัญของการอ่าน
ภาษาไทย
1.3. ผู้บริหารสร้างนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนอ่านได้
1.4. ดำเนินงานตามวัตถุประสงค์โดยมอบหมายให้ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
1.5. ผู้บริหารสถานศึกษาดำเนินการควบคุม กำกับ และติดตามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
โดยให้ครูประจำชั้นส่งแบบบันทึกทุกสิ้นเดือน
2. ขั้นพัฒนาแก้ไข
(A)
นำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข
โดยตรวจสอบกิจกรรมที่ควรปรับปรุง และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ได้แก่ ปรับวิธีการใช้นวัตกรรม
3.
การวัดและการประเมินผล
3.1. ผลการสอบ RT.
Test ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
3.2. ความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อผู้เรียน
4. ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ
4.1. คณะครูมีความตระหนักและความเห็นความสำคัญของการอ่านภาษาไทย
4.2. ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน
4.3. ผู้ปกครองให้ความสำคัญของการอ่านมีเวลาให้กับบุตรหลานของตน
4.4. ผู้บริหารสถานศึกษามีการควบคุม นิเทศ และติดตามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
1.
ความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรียนดีขึ้น
จำนวนที่ผู้เรียนอ่านไม่ออกลดน้อยลง
2.
ผู้ปกครองให้ความสำคัญต่อการอ่านของผู้เรียนมากขึ้น
3.
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการรู้สูงขึ้น
4.
ผู้ปกครองให้ความมั่นใจ พึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียนคลองทรงกระเทียม
มากขึ้น