วิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ Best Practice “โรงเรียนสองภาษา Bilingual Thai – English”
1. ขั้นตอนการดำเนินงานวิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ Best Practice “โรงเรียนสองภาษา Bilingual Thai – English”
1.1 ศึกษาข้อมูลการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา
1.2 ประชุม ปรึกษา สำรวจความพร้อมและความประสงค์เข้าร่วมโครงการ
1.3 ดำเนินการทำเอกสารประชาสัมพันธ์ต่อผู้ปกครอง
1.4 ศึกษาดูงานโรงเรียนสองภาษาที่เปิดมาก่อน
1.5 พัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนตามโครงการสองภาษา
1.6 ผู้บริหารควบคุม นิเทศ กำกับ ติดตาม
1.7 คณะครูรายงานผลการดำเนินงาน และประเมินผล อย่างต่อเนื่อง
2. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
2.1 ศึกษาข้อมูลการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English) ตามนโยบายการจัดการศึกษาของสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
2.2 ประชุมผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการเครือข่าย คณะครู เพื่อสำรวจความพร้อมและความประสงค์ในการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English) สรุปผลและจัดทำรายงาน
2.3 จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ และสำรวจความเห็นและความสนใจเข้าร่วมเรียนในโครงการโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English) ต่อผู้ปกครองและชุมชน สรุปผลและจัดทำรายงาน
2.4 ศึกษาดูงานโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English) และจัดทำแผนงานโครงการสองภาษา และพัฒนาบุคลากรและอาคารสถานที่ สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดการการศึกษาโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English)
2.5 พัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) โปรแกรมสองภาษา (Bilingual Thai –English) ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา ศิลปะ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) และภาษาอังกฤษ จัดทำแผนการสอน สื่อ และกำหนด เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลการเรียน
2.6 เสนอเรื่องขอเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา (Bilingual Thai –English) ต่อสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
2.7 เตรียมพร้อมการประเมินเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา(Bilingual Thai –English) จากสำนักการศึกษาของกรุงเทพมหานคร
2.8 รับการประเมินเข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษา(Bilingual Thai –English)
2.9 ดำเนินโครงการโรงเรียนสองภาษา(Bilingual Thai –English)ตามแผนงานโครงการโรงเรียนสองภาษา โดยแต่ละปีการศึกษามีกิจกรรมเสริมหลักสูตร๒กิจกรรม การพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonic ( word Family)ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-5 และ EP English Camp ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เป็นเลิศ
1.การพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษ Phonic ( word Family)ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6
การปฏิบัติ
1. สอนเรื่องพยัญชนะ สระ การผสมคำ โดยแยกแยะให้นักเรียนรู้เกี่ยวกับตัวอักษรภาษาอังกฤษว่ามีทั้งหมดเท่าไร แบ่งรูปการเรียนออกเป็นกี่ชนิด และแต่ละชนิดใช้สำหรับอะไร
2. สอนการถอดเสียงสระและพยัญชนะโดยอักษรภาษาอังกฤษเมื่อนำมาใช้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม1 กลุ่มที่เป็นพยัญชนะ 21 ตัว(มีเสียงพยัญชนะ 24 เสียง) กลุ่ม 2 กลุ่มที่เป็นสระ มี 5 ตัว คือ A E I O U (มีเสียงสระ 20 เสียง) รวมแล้วตัวอักษรภาษาอังกฤษมี 26 ตัว และสอนการถอดเสียง เป็นพยัญชนะก่อน ต่อจากนั้นจึงถอดเสียงสระทีหลัง
3.สอนการออกเสียงสระภาษาอังกฤษและวิธีใช้สระในภาษาอังกฤษที่มีอยู่ทั้งหมด 5 ตัว
4.สอนการอ่านสะกดคำโดยใช้ Word Family List
5. ผู้สอนจัดทำ Word Family List Chart ให้นักเรียนฝึกอ่านที่โรงเรียน และทำสมุดคำศัพท์ให้นักเรียนไปอ่านที่บ้าน
6. ฝึกและทดสอบการอ่านคำศัพท์ในชั่วโมง Activity ทุกๆสัปดาห์ นำสู่การจัดกิจกรรมการแข่งขันเล่นเกมสะกดคำศัพท์ กิจกรรม Spelling bee Contest
ขั้นตอนดำเนินกิจกรรมพัฒนา
Phonic
1.
*ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาการสอนภาษาอังกฤษในห้องเรียนและการหาทางแก้ไข
2.
*สอนเรื่องพยัญชนะ สระ การผสมคำ การออกเสียง การถอดเสียงสระและพยัญชนะ
*จัดทำ Word Family List และสอนการสะกดคำ
3.
*ฝึกและทดสอบการอ่านคำศัพท์ ใน Word Family List
*จัดทำแบบฝึกเสริมบทเรียนให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่าน
4.
*ขยายผลการฝึกกิจกรรมไปสู่ห้องเรียนสามัญ
*นำสู่การจัดกิจกรรมการแข่งขัน Spelling Bee Contestจากการเรียนรู้เทคนิค
การอ่าน สะกดคำโดยใช้ Word Family
ขั้นตอนการดำเนินโครงการ
1. ขออนุมัติโครงการ
2.
แต่งตั้งคณะกรรมการ
3. ดำเนินโครงการโรงเรียนสองภาษา(English Program)
4. ประเมินผลและสรุปรายงานโครงการรายปี
1. ผลการดำเนินโครงการ/ตัวชี้วัดความสำเร็จ
/ วิธีการประเมิน / เครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.1 จำนวนและร้อยละของนักเรียน/ครูที่เข้าร่วมโครงการ
ระดับชั้น |
จำนวนนักเรียน (ชาย) |
จำนวนนักเรียน (หญิง) |
รวม |
ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ |
ชั้นประถมศึกษาปีที่
1 |
19 |
20 |
39 |
100 |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 |
17 |
16 |
33 |
100 |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 |
9 |
20 |
29 |
100 |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 |
13 |
15 |
28 |
100 |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 |
6 |
25 |
31 |
100 |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 |
16 |
19 |
35 |
100 |
รวม |
80 |
115 |
195 |
100 |
1.2 ตัวชี้วัดความสำเร็จ / วิธีการประเมิน / เครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
วิธีประเมิน |
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน |
ด้านปริมาณ 1. ร้อยละจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ |
1.จากบัญชีรายชื่อ
|
-จากบัญชีรายชื่อ - |
ด้านคุณภาพ 2.
ร้อยละของนักเรียนมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร |
2.ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
|
-
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
|
3.นักเรียนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติกิจกรรม |
ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม |
-แบบประเมินความพึงพอใจ |
2. การวิเคราะห์ผลการประเมิน/สรุปผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์/สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย / ตัวชี้วัด
2.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ
เนื้อหา | ระดับความพึงพอใจ | ||||
มากที่สุด | มาก | ปานกลาง | น้อย | น้อยที่สุด | |
นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อความหมายในชีวิตประจำวันได้ | 94.87 | 5.13 |
|
|
|
นักเรียนสามารถบูรณาการการเรียนรู้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ | 95.89 | 4.11 |
|
|
|
นักเรียนได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถทางภาษาอังกฤษ | 100 |
|
|
|
|
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น | 98.97 | 1.03 |
|
|
|
นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ | 100 |
|
|
|
|
เฉลี่ย | 97.95 | 2.05 |
|
|
|
สรุปผลความพึงพอใจจากการเรียนการสอนในภาพรวมในระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 97.95 จากรายการดังนี้ นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อความหมายในชีวิตประจำวันระดับมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 97.87 นักเรียนบูรณาการการเรียนรู้ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษคิดเป็นร้อยละ 95.89 นักเรียนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น คิดเป็นร้อยละ 98.97 และนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 100
2.2 สรุปผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์
ที่ |
วัตถุประสงค์ของโครงการ / กิจกรรม |
สภาพความสำเร็จ |
ผลการดำเนินงาน |
|
บรรลุ |
ไม่บรรลุ |
|||
1 |
เพื่อให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสำคัญ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1-6 |
/ |
|
นักเรียนทุกคนในโครงการโรงเรียนสองภาษาได้ได้เรียนตามหลักสูตรสองภาษาเป็นภาคภาษาอังกฤษ
15ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามรายวิชาดังนี้ -
ภาษาอังกฤษ 5ชั่วโมง/สัปดาห์ -คณิตศาสตร์
5 ชั่วโมง/สัปดาห์ -วิทยาศาสตร์
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ -สุขศึกษา
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กิจกรรม
1ชั่วโมง/สัปดาห์
|
2 |
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ |
/ |
|
-กิจกรรม
Exploring
the New Corona Virus -กิจกรรม Learning English Through Song
|
3 |
เพื่อให้นักเรียนมีความเชื่อมั่นในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร |
/ |
|
-กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียน –ในห้องเรียน Role Play |
4 |
เพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดดอนเมือง
(ทหารอากาศอุทิศ)
|
/ |
|
-การวัดผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน -การประเมินผลโดยแบบทดสอบกลางของสำนักการศึกษา
|
2.3 สรุปผลการดำเนินงามตามเป้าหมาย / ตัวชี้วัด
ที่ |
เป้าหมาย / ตัวชี้วัดของ โครงการ / กิจกรรม |
สภาพความสำเร็จ |
ผลการดำเนินงาน | |
บรรลุ |
ไม่บรรลุ | |||
1 |
ด้านปริมาณ 1.
เปิดสอนโปรแกรมสองภาษา (English Program)
ในระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 จำนวน 39 คน 1 ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 33 คน 1 ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 29 คน ห้องเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 28 คน 1 ห้องเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 31 คน 1 ห้องเรียนและระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
6 จำนวน 35 คน 1 ห้องเรียน |
/ |
|
นักเรียนทุกคนในโครงการโรงเรียนสองภาษาได้ได้เรียนตามหลักสูตรสองภาษาเป็นภาคภาษาอังกฤษ
15ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามรายวิชาดังนี้ -
ภาษาอังกฤษ 5ชั่วโมง/สัปดาห์ -คณิตศาสตร์
5 ชั่วโมง/สัปดาห์ -วิทยาศาสตร์
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ -สุขศึกษา
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กิจกรรม
1ชั่วโมง/สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 100 |
2 |
ด้านคุณภาพ 1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 (กลุ่มเป้าหมาย) มุ่งเน้นให้มีความรู้ มีทักษะ มีความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2.นักเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็นคนดี
มีความเป็นเลิศทางวิชาการ
ชำนาญการด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา ศิลปะ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และภาษาอังกฤษ 3.โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ)
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสอดคล้องตามนโยบายการจัดการศึกษาของชาติและกรุงเทพมหานคร |
/
|
|
1.นักเรียนได้รับการพัฒนาความรู้
ความสามารถ
จนเกิดทักษะสามารถนำภาษาอังกฤษไปใช้ในการสื่อสารและสื่อความหมายในชีวิตประจำวันได้
คิดเป็นร้อยละ 90 ๒.นักเรียนได้รับการพัฒนาและฝึกฝนทักษะทางการเรียนส่งผลความสำเร็จในการประกวดทักษะทางวิชาการเครือข่ายที่22ในกิจกรรม
Spelling
Bee Contestและกิจกรรม Singing Contest
ได้รับรางวัลชนะเลิศ 3.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์การประเมินจากแบบทดสอบกลาง
คิดเป็นร้อยละ 90
|