1. ประชุมคณะครู,คณะกรรมการสถานศึกษา,ชุมชน วางแผนงาน / โครงการ
2. ดำเนินการพัฒนาและแก้ไขหลักสูตรท้องถิ่น
(การทำนาและการปลูกผักปลอดสารพิษ)
3. จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบการทำสวนทำไร่เกษตรปลอดสารพิษ ดังนี้
- นักเรียนชั้น อนุบาล 1
ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 1 แปลง
-
นักเรียนชั้น อนุบาล 2 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 1 แปลง
- นักเรียน ชั้น ป.1 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2 แปลง
- นักเรียน ชั้น
ป.2 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2 แปลง
- นักเรียนชั้น ป.3 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2
แปลง
- นักเรียน ชั้น
ป.4 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2 แปลง
- นักเรียน ชั้น
ป.5 ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2 แปลง ร่วมทั้ง โรงเพาะเห็ดนางฟ้า
- นักเรียน ชั้น ป.๖ ปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ 2 แปลง ร่วมทั้ง โรงเพาะเห็ดนางฟ้า
- การปลูกผักหมุนเวียนไปตามฤดูกาลและตามความเหมาะสม
4.เชิญครูภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้ด้านการใช้เครื่องมืออุปกรณ์การเกษตร
การปลูกพืชและการเก็บเกี่ยวพืช
รวมทั้งการจัดจำหน่ายผลผลิตของนักเรียน
5. นำนักเรียนไปศึกษาดูงานนอกสถานที่
6. จัดทำเอกสารเสริมความรู้ด้านเกษตร
7. จัดบัญชีการจำหน่าย รายรับ – จ่าย ของโครงการเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรปลอดสารพิษ
1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรปลอดสารพิษ ได้รับการตอบสนองจากนักเรียนและชุมชนเป็นอย่างดี
2. นักเรียนมีความรู้ สามารถอธิบายประโยชน์ของการทำเกษตรปลอดสารพิษและลงมือปฏิบัติจริงได้
3 นักเรียนมีทักษะในการทำงานสามารถเป็นพื้นฐานของการประกอบอาชีพได้
4. นักเรียนได้รับการปลูกฝังจิตสาธารณะให้ตระหนักถึงคุณค่าขอการช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม