กระบวนการทำงานเชิงระบบโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCAเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตและส่งเสริมอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
1. ขั้นวางแผน (Plan)
๑.
ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
เพื่อวางแผนและเตรียมการ
๒.
สำรวจความสภาพปัญหาและความต้องการต่อการจัดกิจกรรม
๓.
ประสานความร่วมมือในการจัดกิจกรรมกับผู้เกี่ยวข้อง
๔. ศึกษาหลักสูตรและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
? ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์
บุคคลเรียนรู้ด้วยการกระทำ โดยมีตัวเสริมแรงเป็นตัวการ
? ทฤษฎีของแบนดูรา การเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ
จึงเป็นกระบวนการทางการรู้คิด
๕.
ออกแบบกิจกรรมที่จะดำเนินการ โดยกำหนดเป็นมาตรการ
Ladprao
school’ s CARE แบ่งเป็น ๔ ด้านเพื่อให้ครอบคลุมการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาและสร้างภูมคุ้มกันให้แก่นักเรียนดังนี้
๑. ด้านการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาและสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียน (C=
Curriculumn)
2. ด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน (A = Activity)
3.
ด้านการดูแลให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน (
R = Relative)
4.
ด้านการสร้างความตระหนักและการพัฒนาการมีส่วนร่วมของสังคม
(E =Engage)
2. ดำเนินการตามแผน (Do)
๑. ดำเนินการจัดกิจกรรม
Ladprao
school’ s CARE ตามที่กำหนดโดยมีรายละเอียดดังนี้
๑. ด้านการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาและสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียน (C= Curriculumn)
1.1
กิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาทักษะชีวิต
2. ด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน (A = Activity)
2.1. กิจกรรมเตรียมความพร้อมและอบรมนักเรียนแกนนำเสริมสร้างทักษะชีวิต
๒.2 กิจกรรมค่ายนี้มีรัก
2.๓
กิจกรรมรอบรู้อนามัยเจริญพันธุ์ป้องกันเอดส์
2.4
กิจกรรมพี่ช่วยน้องเรียนรู้อนามัยเจริญพันธุ์ป้องกันเอดส์
3.
ด้านการดูแลให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน (
R = Relative)
3.1
กิจกรรมแม่ลูกร่วมใจรู้เท่าทันอนามัยเจริญพันธุ์และโรคเอดส์
3.2
กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง
3.3
กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
3.4
กิจกรรมเพื่อนที่ปรึกษา
4. ด้านการสร้างความตระหนักและการพัฒนาการมีส่วนร่วมของสังคม (E =Engage)
4.1
กิจกรรมขยายความรู้สู่โรงเรียนเครือข่าย
4.2
กิจกรรมขยายความรู้สู่ชุมชน
3. การตรวจสอบ (Check)
1.
กำกับ ติดตามโดยคณะกรรมการ
และผู้บริหาร
๒. ผู้รับผิดชอบกิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานเป็นระยะ
๓. สำรวจความพึงพอใจของครู
ผู้ปกครอง และนักเรียน
4. การรายงานผลเพื่อปรับปรุงพัฒนา (Action)
1.
ผู้รับผิดชอบกิจกรรมแต่ละกิจกรรม รายงานผลการจัดกิจกรรม แล้วสรุปผล
ประเมินผลเป็นรูปเล่มรายงานเพื่อเผยแพร่ต่อไป
2. นำผลการประเมินมาร่วมกันวิเคราะห์ร่วมกัน
เพื่อที่จะได้นำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
1.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
ตระหนักถึงความสำคัญของอนามัยเจริญพันธุ์
เอดส์และ
เพศศึกษา
และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม ร้อยละ
๘๒.๐
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๑ – ๓ มีภูมิคุ้มกันทางอารมณ์และมีทักษะในการดำเนินชีวิตวัยรุ่นอย่างมีความสุข
ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย และการติดเชื้อเอชไอวี
3. นักเรียนแกนนำได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง
และมีบทบาทในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
และส่งเสริมอนามัยเจริญพันธุ์อย่างต่อเนื่อง
ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ
4. ลดจำนวนนักเรียนที่ออกจากโรงเรียนกลางคันเนื่องจากปัญหาท้องไม่พร้อมได้ร้อยละ
๑๐๐
5. นักเรียน ครู
และผู้ปกครอง มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมในระดับดีมาก