1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ
2. ประชุมสร้างความตระหนักร่วมกันทั้งผู้บริหาร ครูและบุคลากร
3. กำหนดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้
4. ดำเนินการโครงการและกิจกรรมตามแผน
4.1 โครงการโรงเรียนรักการอ่าน
- กิจกรรม ตรวจสอบทบทวนการอ่าน
- กิจกรรมพ่อครู แม่ครู
- กิจกรรมบันทึกรักการอ่าน
4.2 โครงการส่งเสริมศักยภาพกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- กิจกรรมวันสุนทรภู่
- กิจกรรมวันภาษาไทย
- กิจกรรมลายมืองามตามแบบไทย
4.3 โครงการพัฒนาห้องสมุด
- กิจกรรมยอดนักอ่าน
- กิจกรรมโลกนิทานหรรษา
- กิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด
- กิจกรรมภาพยนตร์ ๒ ภาษา
- กิจกรรมคลื่นซ่า ดีเจเสียงใส
- กิจกรรมเล่านิทานหุ่นมือ
๕. ผู้บริหารนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงาน
๖. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
๗. ประเมินผลและนำผลมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
๑. นักเรียนทุกคนได้รับการช่วยเหลือการแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน
2. นักเรียนมีพัฒนาการ ความสามารถทางการอ่านและการเขียนสูงขึ้น (ผลทดสอบการอ่านและการเขียน)
3. ผลการทดสอบระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1(RT)และผลการทดสอบระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) มีพัฒนาการสูงขึ้น