สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
โรงเรียนมนต์จรัสสิงห์อนุสรณ์
กระบวนการพัฒนา

1.  ขั้นเตรียมการ

    1.1  เสนอโครงการ
    1.2  ประชุมคณะครูเพื่อชี้แจงวางแผนการดำเนินการ
    1.3  ประชุมคณะครูเพื่อชี้แจงวางแผนการดำเนินการ

2.  ขั้นดำเนินการ
     2.1  การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Share Vision)
     2.2  สร้างการเรียนรู้จากการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study)
     2.3  วางแผนจับ
Model Teacher และ Buddy Teacher กำหนดตารางการทำ LS 1-3 ลงในปฏิทินการสอนแบบ PLC โดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้
           1.  วิเคราะห์หลักสูตร (
Analyze) คณะผู้บริหาร ครูคู่ Model Teacher และ Buddy Teacher
ร่วมวางแผน วิเคราะห์หลักสูตร             
           2.  วางแผน
Plan คณะผู้บริหาร ครู ร่วมวางแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับแผน (แผน A1 + A2)          
           3.  ทดลองสอน/สังเกต (Do/See) คณะครูทดลองสอน /และสังเกตสอนโดยนำแผน A2 ไปสอน โดย
คณะครูสอนโดยเน้นการะบวนการ
Active Learning เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และคณะครูสอนโดยเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติ  โดยมีครูผู้สอนช่วยชี้แนะ
           4.  ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Reflection) คณะผู้บริหาร ครูคู่ Model Teacher และ Buddy Teacher แลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับแผน A2 นำไปสู่แผนที่สมบูรณ์ A3
     2.4  ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำ LS1-3 ในวันประชุมประจำเดือนของโรงเรียนแต่ละเดือน รวม 3 เดือน
     2.5  ครูจัดทำรายงานเป็นรูปเล่ม สรุปผลการเรียนรู้จากการพัฒนาบทเรียนรวมกัน (
Lesson Study)

3.  ขั้นตรวจสอบและประเมินผล
    3.1  การนิเทศแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (
Peer Coaching)
    3.2  การถอดบนเรียน (
Action After Review)

4.  ขั้นสรุป รายงานและปรับปรุงแก้ไข
    4.1  รายงานผลการดำเนินงานตามกระบวนการ PLC เป็นรายบุคคล
    4.2  สรุปผลและรายงานผลการดำเนินโครงการ
    4.3  รับข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
/พัฒนางานต่อไป


ผลจากการปฏิบัติ

1.  คณะผู้บริหาร คุณครู และบุคลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาวิชาชีพและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาโดยใช้กระบวนการ  PLC  จัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน

2.  ครูเกิดพลังการเรียนรู้ (Power of learning) ส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนของตนเองมีผลดียิ่งขึ้น และมีความรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียนและร่วมกันรับผิดชอบเป็นกลุ่มต่อผลสำเร็จของนักเรียน
3.  นักเรียนมีผลการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นในทุกรายวิชา


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]