สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
โครงการโรงเรียนสองภาษา
โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ)
กระบวนการพัฒนา

ลักษณะของโครงการ

เป็นกิจกรรมดำเนินการต่อเนื่อง ตามโครงการห้องเรียนสองภาษา(English Program) ส่งเสริมการใช้ทักษะภาษาอังกฤษ สนองยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา  ขั้นพ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทุกระดับชั้นและเป็นบุคคลที่พึงประสงค์ของสังคม  สนองกลยุทธ์ที่ ๑ แผนงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑  คุณภาพผู้เรียนข้อ ๑.๔ ประเด็นที่ ๑.๑.๗ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ข้อ๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

        ระยะเวลาและสถานที่  

                                เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๖ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๖๖  ณ โรงเรียนวัดดอนเมือง(ทหารอากาศอุทิศ

        ปฏิทินปฏิบัติงานโครงการโรงเรียนสองภาษา














ขั้นตอนการดำเนินงาน

พ.ศ. ๒๕๖๖

พ.ศ. ๒๕๖๗

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

๑.ขั้นวางแผน (P)

๑.๑ เสนอและขออนุมัติโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑.๒ ประชุมคณะกรรมการวางแผนการดำเนินกิจกรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๑.๓ แต่งตั้งคณะกรรมการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๒.ขั้นดำเนินการ (D)

ดำเนินการตามแผนการดำเนินกิจกรรมดังนี้

๑. กิจกรรม Every child can read   

๒. กิจกรรม Creative English Projects. 

๓. กิจกรรม EP Super Fun Camp. 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓.ขั้นติดตามและประเมินผล(C)

เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ขั้นตอนการดำเนินงาน

พ.ศ. ๒๕๖๖

พ.ศ. ๒๕๖๗

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

๔.ปรับปรุงแก้ไข (A)

๔.๑ หัวหน้าโครงการประชุมร่วมกับคณะกรรมการสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๔.๒ รายงานผลการประเมินต่อผู้บริหาร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 





ผลจากการปฏิบัติ

  1. นักเรียนห้องเรียนสองภาษา (English Program)ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จำนวน ๒๑๘ คน   ได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนสองภาษาคิดเป็นร้อยละ  ๑๐๐.๐๐   โดยการสำรวจข้อมูลจากบัญชีรายชื่อนักเรียน 

   2.  นักเรียนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องคิดเป็นร้อยละ  ๙๐.๐๐  

    3. นักเรียนมีความเชื่อมั่นในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารตามกรอบ CEFR คิดเป็นร้อยละ  ๙๕.๐๐  

    4. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ  ๑๐๐.๐๐  

    5.   ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]