1. ประชุมชี้แจง
สร้างความตะหนักในแนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายและปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
2.
ปลูกพืชผักสวนครัว / พืชตามฤดูกาล พืชสวน โดยแบ่งเป็นเขต
หรือจัดเนื้อที่เพาะปลูกให้แต่ละชั้น รับผิดชอบและให้นักเรียนเรียนรู้โดยบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และเรียนในชั่วโมงชมรม
3.
รณรงค์การทำน้ำหมักชีวะภาพ โดยนำเศษอาหารมาทำเป็นน้ำหนักชีวะภาพ
4.
คัดแยกขยะ โดยแยกเศษขยะตามประเภทของขยะ ส่วนเศษหญ้า ใบไม้
นำไปทำปุ๋ยหมักเพื่อเอาไว้ เป็นปุ๋ยใส่พืชผัก
5.เลี้ยงเป็ด
โรงเพาะเห็ด พร้อมขอความร่วมมือจากผู้ปกครองเรื่องตลาดในการนำไปจำหน่ายและส่ง โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
6. การดูแลรักษา พืชให้เจริญงอกงาม โดยเน้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยน้ำ
การกำจัดวัชพืชในแปรง เกษตร
7.
ประเมินผล นักเรียนและครู/ผู้ปกครอง
ได้รับผลผลิตทางการเกษตรโดยได้รับประทานด้วยกันเป็น อาหารกลางวันและขายสร้างรายได้
1. นักเรียนมีความตระหนัก รู้คุณค่าของอาชีพเกษตรกรรม
2. นักเรียนมีความรู้และมีทักษะในการทำงานจากการปฏิบัติจริง
3. นักเรียนมีความสามัคคี สนุกสนาน มีความอดทน
4. ได้รับคำชมเชยจากผู้ปกครองและชุมชน
5. สร้างรายได้ให้กับนักเรียน/โรงเรียน