สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
การรักการอ่าน
โรงเรียนบึงขวาง (มหาดไทยอุปถัมภ์)
กระบวนการพัฒนา

2. วัตถุประสงค์

              ๒.๑ เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่าน

              ๒.๒ เพื่อแก้ปัญหาด้านการเรียนรู้ในกลุ่มสาระต่างๆ

              ๒.๓ เพื่อส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนให้เด่นชัดขึ้น

 

3. เป้าหมาย    

              ๓.๑ ด้านปริมาณ

                   ๓.๑.๑นักเรียนชั้น ป. ๑ – ป. ๖ ที่มีพัฒนาการด้านการอ่าน การเขียนที่ยังต้องปรับปรุงและพัฒนา ได้รับการดูแลแก้ไข ตลอดจนพัฒนาศักยภาพด้านการอ่าน และการเขียนอย่างทั่วถึง

              ๓.๒ ด้านคุณภาพ

                    ๓.๒.๑ นักเรียนสามารถอ่านหนังสือตามบทเรียนของแต่ละชั้นเรียนได้

                    ๓.๒.๒ นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครู และเพื่อน ตามกิจกรรมที่จัดขึ้น

                    ๓.๒.๓ นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านและการเขียนเพิ่มขึ้น

              

4. ลักษณะของโครงการ

เป็นโครงการต่อเนื่อง สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของโรงเรียนบึงขวาง (มหาดไทยอุปถัมภ์) ที่  ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมการเรียนรู้ สู่การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน    

5. ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ

          ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2566 – มีนาคม 2567 ณ โรงเรียนบึงขวาง (มหาดไทยอุปถัมภ์)

6. แผนปฏิบัติการ

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ปีการศึกษา พ.ศ.2566

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงรักการอ่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. โรงเรียนดำเนินงานโครงการรักการอ่าน ดังนี้

๑. กิจกรรมห้องสมุด

๒. กิจกรรมหยุดทุกงานอ่านทุกคน

๓. กิจกรรมเล่านิทาน

๔. กิจกรรมครอบครัวรักการอ่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ผู้บริหารและคณะกรรมการกำกับติดตาม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4. สรุปและรายงานผลโครงการรักการอ่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 













\\




7. งบประมาณ

                    งบประมาณจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2566 และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ปีงบประมาณ 2566 เป็นวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินโครงการ/กิจกรรม 

8. ความเสี่ยงของโครงการและแนวทางการบริหารความเสี่ยง

 

ความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง

 

แนวทางการบริหารความเสี่ยง

โอกาสที่จะเกิด

ผลกระทบ

ระดับของความเสี่ยง

โรงเรียนไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากมีกิจกรรมอื่นมาแทรก

1

1

น้อยมาก

กิจกรรมบางกิจกรรมจัดภายในชั้นเรียนแต่ละระดับชั้นแทนการจัดรวมทั้งโรงเรียน

                                                                                                                                        

9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

          ๙.๑ นักเรียนทุกคนของโรงเรียนบึงขวางมีพัฒนาการด้านการอ่านที่ดีขึ้น

           ๙.๒ นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาของกลุ่มสาระต่างๆได้เข้าใจดีขึ้น

           ๙.๓ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้นเป็นที่พอใจของครูและผู้ปกครอง

 

/๑๐.การติดตาม...

- ๓ -

10. การติดตามประเมินผล

                     10.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

ประเภทตัวชี้วัด

วิธีการคำนวณ/เครื่องมือในการใช้วัด

ระยะเวลา

๑.นักเรียนสามารถอ่านหนังสือตามบทเรียนของแต่ละชั้นเรียนได้

๒. นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครู และเพื่อน ตามกิจกรรมที่จัดขึ้น

๓.นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านและการเขียนดีขึ้น

ร้อยละ ๙๐

ผลผลิต

วิธีการคำนวณ

จำนวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาการด้านการอ่านและการเขียน/ จำนวนนักเรียนทั้งหมด ? 100

เครื่องมือในการวัด

แบบประเมินโครงการรักการอ่าน

พฤษภาคม 2566 – มีนาคม 2567

10.2 การติดตามความก้าวหน้า

        รายงานการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการเป็นรายเดือนตามระบบการติดตาม และคิดเป็นร้อยละของเนื้องานทั้งหมดของโครงการ

10.3  การประเมินผลโครงการ

         10.3.1 จำนวนนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาการอ่านและการเขียน      

         10.3.2 รวบรวมผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลให้ผู้อนุมัติโครงการทราบ

                   


ผลจากการปฏิบัติ

1.นักเรียนชั้น ป. ๑ – ป. ๖ ที่มีพัฒนาการด้านการอ่าน การเขียนที่ยังต้องปรับปรุงและพัฒนา ได้รับการดูแลแก้ไข ตลอดจนพัฒนาศักยภาพด้านการอ่าน และการเขียนอย่างทั่วถึง

2.นักเรียนสามารถอ่านหนังสือตามบทเรียนของแต่ละชั้นเรียนได้

 3.นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่จากครู และเพื่อน ตามกิจกรรมที่จัดขึ้น

 4.นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านและการเขียนเพิ่มขึ้น


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]