สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม
โรงเรียนวัดสามัคคีธรรม(หนู-บุตรอุปถัมภ์)
กระบวนการพัฒนา

วิธีดำเนินงานและกิจกรรมในโครงการ

 

          วิธีดำเนินงานโครงการ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices)

ตุงใยแมงมุม  มีรายละเอียดดังตารางที่ 1

 

ตารางที่ 1 โครงการ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม

 

ขั้นตอน

รายการ

สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่

ระยะเวลา

(วัน เดือน ปี)

ผู้รับผิดชอบ

1. วางแผน

(Plan)

ประชุมคณะครูให้ทราบนโยบาย และถือเป็นแนวปฏิบัติ

-

 

พ.ค. 2566

นางนงเยาว์  สนธิกนก

(ผู้รับผิดชอบโครงการ)

2. ดำเนินการ

(Do)

1.การบริหารและการจัดการ

    1.1 นำข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบริบทของโรงเรียน

   1.2 ประชุมครูเพื่อวิเคราะห์และคัดเลือกภูมิปัญญาชาวบ้านที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน

    1.3 กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน งบประมาณ การดูแลติดตาม การประเมินโครงการ

2.การนำโครงการสู่การปฏิบัติ

     2.1 ประชุมคณะครูเพื่อทบทวน และเน้นย้ำให้ทราบและเข้าใจโครงการ ตุงใยแมงมุม

    2.2 จัดอบรมวิธีการทำตุงใยแมงมุม แก่ตัวแทนนักเรียนแต่ละห้องเรียน

    2.3 ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้ปกครอง นักเรียน และบุคคลทั่วไป โดยใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook  Lineกลุ่มผู้ปกครองนักเรียน และหนังสือถึงผู้ปกครอง รวมทั้งแจ้งในที่ประชุมผู้ปกครองก่อนเปิดภาคเรียน และการขอความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา และเครือข่ายผู้ปกครอง

    2.4 ขอความอนุเคราะห์เจ้าอาวาสวัดสามัคคีธรรม เพื่อประชาสัมพันธ์แก่ญาติโยม และชุมชนที่ต้องการตุงใยแมงมุม เชิญชวนใช้บริการจากโรงเรียนวัดสามัคคีธรรม และอนุญาตให้โรงเรียนประชาสัมพันธ์ ตุงใยแมงมุม

 

 

พ.ค. 2566

(ตลอดปีการศึกษา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นางนงเยาว์  สนธิกนก

และคณะครูทุกท่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3. ตรวจสอบ

(Check)

1. แบบประเมินผลการสังเกตเข้าร่วมกิจกรรม

2. สรุปผลการดำเนินการตามแผนงานกิจกรรม

 

มี.ค. 2567

นางนงเยาว์  สนธิกนก

(ผู้รับผิดชอบโครงการ)

4. ประเมินผลและรายงาน

1. นำข้อมูลจากการทำกิจกรรมมาประชุมปรึกษาหาและสรุปผลตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้

2 สรุปประเด็นปัญหา และอุปสรรค

3 กำหนดแนวทางในการพัฒนางานต่อไป/แก้ปัญหาและอุปสรรค

4. จัดทำรายงาน

 

 

มี.ค. 2567

นางนงเยาว์  สนธิกนก

(ผู้รับผิดชอบโครงการ)

 

 

 

งบประมาณที่ใช้

    

ลำดับที่

รายการ(วัสดุอุปกรณ์)

จำนวนเงิน

1

ค่าอุปกรณ์ในการ96ตุงใยแมงมุม

 

5,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การวัดและประเมินผล

          การวัดและประเมินผลโครงการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม  มีวิธีการดังตารางที่ 2

 

ตารางที่ 2 วิธีการวัดและประเมินผลโครงการ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม 

 

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือที่ใช้

ด้านปริมาณ

    นักเรียนโรงเรียนวัดสามัคคีธรรม (หนู –บุตร)  ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6

จำนวน 357 คน

ด้านคุณภาพ

    นักเรียนสามารถจัดทำตุงใยแมงมุมได้หลากหลายรูปแบบ  และจัดทำได้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 80

 

 

 

1.ติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกำหนดระยะเวลาดำเนินของกิจกรรมตามแผนงาน

2.ติดตามประเมินจากผู้เข้าร่วมโครงการ

3.ติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมตามเป้าหมายของโครงการที่วางไว้ 

4.การสรุปและประเมินผลโครงการ

แบบประเมินสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน / ผู้เข้าร่วมโครงการ

 

 

 


ผลจากการปฏิบัติ

ผลการดำเนินโครงการ

 

ผลการดำเนินโครงการ โครงการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม  สรุปได้ดังนี้

              1. ใช้กลุ่มตัวอย่างนักเรียนเข้าที่เข้าร่วมโครงการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม  จำนวน 50 คน ในการตอบแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 97.92  สูงกว่าเป้าหมายของกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด รายละเอียดดังตารางที่ 3

 

ตารางที่ 3 - 4  การตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างนักเรียนเข้าที่เข้าร่วมโครงการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้ (Best Practices) ตุงใยแมงมุม  จำนวน 50 คน

 

          ตารางที่ 3

 

รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1.ประเมินตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

 

 

 

 

    1.1. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซึ่งนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ที่ตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง

38

12

-

-

-

    1.2. นักเรียนเห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นทางศาสนาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา

42

8

-

-

-

2.ประเมินกระบวนการดำเนินงานตามกระบวนการ

 

 

 

 

 

    2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาดำเนินงาน

40

10

-

-

-

    2.2 การดำเนินงานเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้

38

12

-

-

-

    2.3  นักเรียนมีความสุข สนุกในการทำงานหรือผลิตตุงใยแมงมุม

40

10

-

-

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ 4

 

รายการประเมิน

ระดับความพึงพอใจ

รวม

ระดับคุณภาพ

ร้อยละ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1.ประเมินตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

 

 

 

 

 

 

 

    1.1. นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซึ่งนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ที่ตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง

190

48

-

-

-

238

4.76

95.20

    1.2. นักเรียนเห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นทางศาสนาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา

210

32

-

-

-

242

4.84

96.80

2.ประเมินกระบวนการดำเนินงานตามกระบวนการ

200

40

-

-

-

240

4.80

96.00

    2.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาดำเนินงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

    2.2 การดำเนินงานเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้

190

48

-

-

-

238

4.76

95.20

    2.3  นักเรียนมีความสุข สนุกในการทำงานหรือผลิตตุงใยแมงมุม

200

40

-

-

-

240

4.80

96.00

สรุป

4.79

95.84

 

จากตารางที่ 3 - 4    พบว่า โครงการการปฏิบัติที่เป็นเลิศ/การดำเนินการที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้  (Best Practices) ตุงใยแมงมุม ปีการศึกษา 2566  ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซึ่งนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์ที่ตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง เห็นคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นทางศาสนาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา  ซึ่งสรุปผลการประเมินในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ  95.84

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]