วิธีดำเนินการ/ขั้นตอน
1.
เสนอกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อวางแผนพิจารณารูปแบบของกิจกรรมและจัดทำปฏิทินปฏิบัติงาน
3.
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้
4. ดำเนินงานตามที่ได้วางแผนไว้เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
-ให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนรอบๆบริเวณโรงเรียน
-สามารถสร้างแหล่งเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
-นำความรู้เรื่องการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปเผยแพร่ในครอบครัวและชุมชน
-บอกประโยชน์การดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้
-จัดทำหลักสูตร Eco-school ทุกกลุ่มสาระ
-จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
-นิเทศการสอนและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ PLC
6. รวบรวมข้อมูลและสรุปผล
7. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม
(ตามวัตถุประสงค์)
ครู บุคลากรและนักเรียน เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก เกิดการปรับเปลี่ยนเจตคติที่ดี และนำไปสู่การลงมือทำ เพื่อการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น
โรงเรียนได้รับรางวัลเป็นโรงเรียนอีโคลสคูล
(Eco-School) ระดับต้น (ปี 2565-2568) จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรม
เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ค่าเป้าหมาย |
ร้อยละความสำเร็จ |
ผลการดำเนินการ |
1.สรุปผลการดำเนินงาน
(เชิงปริมาณ) นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและความ ตระหนัก
เกิดการปรับเปลี่ยนเจตคติที่ดี และนำไปสู่การลงมือทำ เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น
|
๘๐ |
๘๓ |
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนัก
เกิดการปรับเปลี่ยนเจตคติที่ดี และนำไปสู่การลงมือทำ เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น |
2.สรุปผลการดำเนินงาน
(เชิงคุณภาพ) นักเรียน ครูและบุคลากร ร่วมถึงครอบครัวและชุมชน นำความรู้ ในการรักษาดูแลธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
๘๐ |
๘๓ |
บุคลากรมีนิสัยรักความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างยั่งยืน |
ร้อยละความสำเร็จ |
๘๓ |