๑. ครูแกนนำเข้ารับการอบรมโครงการห้องเรียนสู้ฝุ่น
๒. นำข้อมูลการอบรมมาขยายผลให้กับคณะครู บุคลากร และนักเรียนได้ทราบ
๓. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียนแกนนำ
๔. จัดอบรมคณะกรรมการนักเรียนแกนนำ
๕. ประชุมครู บุคลากรและคณะกรรมการนักเรียนแกนนำถึงขั้นตอนการปฏิบัติ
๖.
กำหนดวันเวลาดำเนินโครงการและดำเนินงานตามขั้นตอน
๗.
ติดตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ
๙. ประเมินผล การร่วมกิจกรรมของผู้เรียน
๑๐.
สรุป และรายงานผล
นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวฝุ่น
PM2.5 สามารถบอกที่มาหรือสาเหตุของการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ สามารถบอกค่าธงสีสุขภาพรวมถึงวิธีการปฏิบัติตนเมื่อค่าฝุ่นเกินมาตรฐาน
นอกจากนี้ยังสามารถเผยแพร่ให้ความรู้เรื่องฝุ่นกับน้องๆในโรงเรียนและผู้ปกครองที่บ้าน
นอกจากนี้นักเรียนยังเกิดความตระหนักถึงความรุนแรงของฝุ่นที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนและคนในครอบครัว