1. ขั้นวางแผน (PLAN)
1. นำเสนอกิจกรรม
2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานให้รับผิดชอบกิจกรรมและประสานงานดำเนินกิจกรรม
3. ประชุมคณะกรรมการ กำหนดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ กำหนดวัน เวลาในการดำเนินงาน
2. ขั้นดำเนินงาน (DO)
1. ชี้แจงกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมแนวทางการดำเนินงานพร้อมกำหนดการปฏิบัติงาน2. จัดสถานที่ จัดเก็บ การคัดแยก การจัดการขยะในโรงเรียน(ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรม)
3. มอบหมายงานให้กับคณะกรรมการ(นักเรียน) ในชมรมรักษ์สิ่งแวดล้อม (ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรม)
3. ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนด
3.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับกล่องนม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 1 กำเนิดกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 2 กว่าจะมาเป็น
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 3 มิตรสหายของกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 4 ข้อดี – ข้อเสียของกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 5 กล่องเครื่องดื่มเกิดมาเพื่อใคร
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 6 ประชากรเครื่องดื่มในไทย
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 7 วงจรชีวิตของกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 8 กล่องเครื่องดื่ม 3R
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 9 กล่องเครื่องดื่มตายแล้วไปไหน
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 10 การกลับมาของกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 11 กล่องเครื่องดื่มกับพลังงาน
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 12 กล่องเครื่องดื่มกับสิ่งแวดล้อม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 13 เรื่องน่ารู้ของกล่องเครื่องดื่ม
- กล่องเครื่องดื่ม ตอนที่ 14 กล่องเครื่องดื่มแปลงร่างเป็น
3.2 นักเรียนดื่มนมทุกเช้าพร้อมพับกล่องนม(ตามโครงการนาฬิกาชีวิต เพลงค่าน้ำนมและอิ่มอุ่น)
3.3 นักเรียนถือกล่องนมที่พับเดินมาใส่กล่องเก็บนมที่ตัวแทนห้องถือ(สร้างขึ้นมาเองจากกล่องนมที่ดื่ม) (ตามโครงการนาฬิกาชีวิต เพลงสูตรคูณเพลินเพลง)
3.4 ตัวแทนห้องถือและนำไปเก็บที่จัดเก็บของสายชั้นด้านหลังเวทีและเดินขึ้นห้องเรียน
3.5 จิตอาสาดูแลความสะอาดเรียบร้อย
3. ขั้นตรวจสอบ ( CHECK)
ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงาน
ทุกขั้นตอน รวบรวมปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานเพื่อหาทางแก้ไข
4. ขั้นปรับปรุง ( ACTION)
สรุปผลการดำเนินงานประชุม
เพื่อรวบรวมปัญหา
อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานเพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขและพัฒนาต่อไป
ผลการดำเนินงาน
๑. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับกล่องนมยูเอชที
ประโยชน์จากการรีไซเคิล สามารถการคัดแยกจัดเก็บกล่องนมได้ ร้อยละ 94.00
๒. นักเรียนลดปริมาณขยะที่เกิดจากกล่องนม โดยใช้การคัดแยกกล่องนม ร้อยละ 91.40
๓.
นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการดื่มนมและการจัดเก็บกล่องนมจนเกิดเป็นนิสัย
คิดเป็นร้อยละ 92.10 สรุปตัวชี้วัดโครงการ ได้ผลร้อยละ 92.50
และได้ลำดับการจัดเก็บกล่องนมได้ปริมาณตามโครงการกล่องนมรักษ์โลก ปี 3 อันดับที่ 6
ของประเทศ รวบรวมกล่องได้ 78,260 กล่อง
โดยหน่วยงานที่ร่วมคือ TIPMSE ร่วมกับบริษัทเนสท์เล่ (ไทย)จำกัด, บริษัทเต็ตตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จำกัด,
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.), และสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
การนำข้อเสนอแนะจากการประเมินผลมาพัฒนา/ปรับปรุง
1.
การมีส่วนร่วมของนักเรียนในระหว่างดำเนินกิจกรรม
2.
นักเรียนผ่านสถานการณ์โรคติดต่อ (โควิท-19) ทำให้นักเรียนดื่มนมน้อยลง