สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
ผัก ปลูก เด็ก (บูรณาการศาสตร์พระราชา)
โรงเรียนบ้านเจียรดับ
กระบวนการพัฒนา

           1. เสนอรายละเอียดกิจกรรมกับผู้บริหารสถานศึกษา

         2. ประชุมคณะครูและบุคลากรในการบูรณาการเกษตรพอเพียง เข้าในรายวิชา หรือบ้านทักษะของครูแต่ละท่าน และแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับชอบ

          3.  กำหนดแผนงานการดำเนินการดังนี้

                   3.3.1 กิจกรรมโรงเรียนเด็กกินผัก

                   3.3.2 กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง

                   3.3.3 กิจกรรมเครือข่ายพอเพียง

          4.   นักเรียนเรียนรู้และปฏิบัติจริงในการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆที่ครูสอน

          5.   ขยายผลความรู้ไปสู่ครอบครัวและชุมชน

          6.   นำผลผลิตที่ได้จากการจัดการเรียนการสอน มาใช้บำรุงผักสวนครัว ต้นไม้ ในโรงเรียนหรือที่บ้าน และนำส่วนที่เหลือมาจำหน่ายที่ตลาดนัดพอเพียงที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น

          7.   ครูประเมินกิจกรรมร่วมกัน

          8.   ประเมินกิจกรรมทุกขั้นตอน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขและนำเสนอผู้อำนวยการสถานศึกษา


ผลจากการปฏิบัติ

     1.    นักเรียนได้นำความรู้ตามแนวเศรษฐกิจแบบพอเพียงไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 87.50 

     2.  โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 86.58


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]