๑.
แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน PLC ประกอบด้วย
1. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
2. รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
3. หัวหน้าฝ่ายวิชาการ/กลุ่มสาระ/หัวหน้าสายชั้น
4. ครู
๒.
จัดทำแผนงานการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
สู่สถานศึกษา ประกอบด้วย
๒.1 สร้างทีมงาน PLC ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
2.๒ สร้างความรู้ ความเข้าใจ
และแนวทางการปฏิบัติให้กับบุคลากรในสถานศึกษา
๒.3 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่น
๒.4 กำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผล
๒.5 ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน
การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สู่การปฏิบัติ
3.1 ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
สู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งบันทึกลงใน Logbook ตามลำดับดังนี้
1)
ค้นหาปัญหา
2) หาสาเหตุ
3) แนวทางแก้ไข
4) ออกแบบกิจกรรมและ
5)
นำสู่การปฏิบัติและการสะท้อนผล
3.2 สรุปรายงานผล
และจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4.กำกับ
ติดตามนิเทศและประเมินผล
4.1 จัดทำแผนและเครื่องมือ กำกับ ติดตาม นิเทศ
และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
4.2 คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
ระดับสถานศึกษา
ดำเนินการกำกับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
4.3 เร่งรัด ติดตาม และสนับสนุน
ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาที่ไม่ประสบความสำเร็จในการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
5.สรุปรายงานผลการดำเนินการการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
5.1
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการดำเนินการตามกระบวนการ PLC สู่สถานศึกษา พร้อม Logbook เป็นรายบุคคลต่อผู้บริหารสถานศึกษา
5.2
คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC สรุปและรายงานผลการติดตาม
ในสถานศึกษา
โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน
ผ่านการสอนแบบ Active Learning การจัดการชั้นเรียนเชิงบวกและการนิเทศภายในแนวใหม่ ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)
มุ่งสู่มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน
ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในโรงเรียนสุเหร่าลำแขก
เกิดองค์ความรู้ในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning
Community: PLC) และสามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงเป็นรูปธรรม
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพอย่างยั่งยืน
มีการเปิดชั้นเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานในรูปแบบของการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน
(Lesson
Study: LS) ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:
PLC)
สู่ความเป็นครูมืออาชีพ นักเรียนมีทักษะในการเรียนรู้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่
๒๑ (๓ Rs ๘
Cs ๒
Ls) และมีสมรรถนะของผู้เรียนสูงขึ้น ส่งผลให้โรงเรียนเกิดวัฒนธรรมองค์กรแบบร่วมมือ
รวมพลังในการทำงานเพื่อพัฒนาวิชาชีพ (ออกแบบการจัดการเรียนรู้) อย่างยั่งยืนและเพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศภายในแนวใหม่
โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นฐานได้อย่างเหมาะสมตามบริบท ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาวิชาชีพของครู
และผู้บริหารสถานศึกษาต่อไป