สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Department of Education
โครงการขับเคลื่อนแนวทางตามพระราชดำริในการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีสู่สถานศึกษาในโรงเรียนวัดบำเพ็ญเหนือ
โรงเรียนวัดบำเพ็ญเหนือ
กระบวนการพัฒนา

แนวทางดำเนินงาน

    1. ขั้นวางแผน (P)

                   1.1  วิเคราะห์หลักการ เหตุผล และผลการดำเนินการ

                   1.2  จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ

                   1.3  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

                   1.4  สำรวจปัจจัยในการดำเนินโครงการ

2. ขั้นดำเนินงาน (D)

                   2.1  ประชุมคณะกรรมการ กำหนดแนวทางคำเนินงาน

                   2.2  จัดทำปฏิทินปฏิบัติงาน

                   2.3  ชี้แจงการดำเนินงานต่อที่ประชุม

                2.4  โครงการขับเคลื่อนแนวทางตามพระราชดำริในการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชน   เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีสู่สถานศึกษาในโรงเรียนวัดบำเพ็ญเหนือ มีกิจกรรม 5 กิจกรรม ประกอบด้วย

                                       -  กิจกรรมเกษตรอินทรีย์

                                       -  กิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน

                                       -  กิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์

                                       -  กิจกรรมประหยัดพลังงาน

                                       -  กิจกรรมธนาคารขยะ

3. ขั้นติดตามผล (C)

                   นิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินการ

ระยะที่ ๑ ก่อนการดำเนินโครงการ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ

ระยะที่ ๒ ระหว่างการดำเนินโครงการ เพื่อรับทราบความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค

ระยะที่ ๓ หลังการดำเนินโครงการ เพื่อสรุปผลสำเร็จ

4. ขั้นปรับปรุงและพัฒนา (A)

                   4.1  รายงานผลที่ดำเนินงาน รับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ

                   4.2  วิเคราะห์ สรุปผลประเมินโครงการ และรายงานผล



ผลจากการปฏิบัติ

ผลการดำเนินงานตามโครงการ (ตามวัตถุประสงค์)

1. เนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดโครงการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในโรงเรียนของตนเอง

2. นักเรียนตระหนัก และมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน  

3. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน

สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ


เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ค่าเป้าหมาย

ร้อยละความสำเร็จ

ผลการดำเนินการ

1.สรุปผลการดำเนินงาน

(เชิงปริมาณ)

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ  ในการจัดโครงการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชน         ในโรงเรียนของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 85 ขึ้นไป

100

ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ  ในการจัดโครงการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชน  ในโรงเรียนของตนเอง คิดเป็นร้อยละ

100

2.สรุปผลการดำเนินงาน

(เชิงคุณภาพ)

นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในโรงเรียนของตนเองสามารถนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 85  

ขึ้นไป

85

นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้าง

ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในโรงเรียน

ของตนเองสามารถนำความรู้ไปปรับ

ประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้

อย่างถูกต้องและเหมาะสม

คิดเป็นร้อยละ 85

   จุดเด่นของกิจกรรมในครั้งนี้

          - ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ได้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ  ในการจัดโครงการเสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทุกคน

   จุดควรพัฒนาของกิจกรรมในครั้งนี้

          - โครงการในกิจกรรมที่จัดขึ้นควรเพิ่มความหลากหลายในการจัดให้มากขึ้น

  ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาของกิจกรรมในครั้งนี้

          - โครงการที่จัดขึ้นควรเพิ่มรายละเอียดของกิจกรรมที่ละเอียด เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในโครงการ


เอกสารเพิ่มเติม :[ดาวน์โหลดเอกสาร]