1. จัดประชุมวางแผนขั้นตอนการทำกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ
2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการและนักเรียนแกนนำ
3.ดำเนินการตามปฏิทินกิจกรรม
3.1 ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร นักเรียนเข้ารับการอบรมสร้างองค์ความรู้สำหรับเด็กและเยาวชน (นวัตกรรมการสื่อสารเรื่องฝุ่นในโรงเรียน)
3.2 นักเรียนแกนนำประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องฝุ่น PM 2.5 และปักธงสุขภาพบริเวณหน้าโรงเรียนและบนอาคารเรียน
3.3 กิจกรรมฐานการเรียนรู้ป้องกันฝุ่น PM 2.5
3.4 กิจกรรมเดินรณรงค์และให้ความรู้เกี่ยวกับฝุ่น PM 2.5 และประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน
4. สรุปและนำเสนอผลการดำเนินโครงการ
1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับฝุ่น PM 2.5 ผลกระทบต่อสุขภาพและวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัย
2. นักเรียนมีทักษะในการรับมือกับอันตรายจากฝุ่นPM 2.5 และสามารถเผยแพร่ความรู้ สู่คนในครอบครัวและคนอื่นๆ ได้
3. นักเรียนตระหนักถึงอันตรายของฝุ่น PM 2.5 ให้แก่ผู้บริหาร คณะครู บุคลากร นักเรียนโรงเรียนสุเหร่าใหม่ และคนในชุมชนบริเวณโรงเรียนและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องปลอดภัยเมื่อเกิดปัญหา ฝุ่น PM 2.5