1. ขั้นเตรียมการ (Plan)
1) ศึกษาแนวทางการดำเนินงานและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ
2) ประชุมคณะกรรมการกลุ่มงานการศึกษาพิเศษ
เพื่อกำหนดกิจกรรม
3) จัดทำโครงการนำเสนอฝ่ายบริหาร
1) ประชุมครูกลุ่มงานการศึกษาพิเศษเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการและกำหนดกิจกรรมให้มีกิจกรรมทั้งหมด
7 กิจกรรม
1.
กิจกรรมคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเรียน
2. กิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียนเรียนร่วมเพื่อจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
3. กิจกรรมพัฒนาการอ่านและศักยภาพเด็กเรียนร่วม
4. กิจกรรม แต่งเติม เติมฝัน
5. กิจกรรม DIY ทำง่าย ได้ประโยชน์
6. กิจกรรมสานผัน สร้างสรรค์ พัฒนาอาชีพ
7. กิจกรรมสานสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน
8. กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง
2) แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบ
3) ดำเนินการตามโครงการ
1.
กิจกรรมคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเรียน
2. กิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียนเรียนร่วมเพื่อจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
3. กิจกรรมพัฒนาการอ่านและศักยภาพเด็กเรียนร่วม
4. กิจกรรม แต่งเติม เติมฝัน
5. กิจกรรม DIY ทำง่าย ได้ประโยชน์
6. กิจกรรมสานผัน สร้างสรรค์ พัฒนาอาชีพ
7. กิจกรรมสานสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน
8. กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง
3. ขั้นนิเทศติดตามผล
(Check)
นิเทศติดตามการดำเนินการและคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้อง
4. ขั้นประเมินผลและรายงานผล
(Action)
1) ประเมินผลการดำเนินโครงการ
2) สรุปผลการดำเนินโครงการ
3) รายงานผลการดำเนินโครงการ
นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษได้รับบริการทางการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน คิดเป็นร้อยละ 92.50 การคัดกรองหรือหาแนวทางในการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนอย่างมีระบบ
คิดเป็นร้อยละ 91.31 นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษได้มีโอกาสเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรมในโรงเรียนได้
คิดเป็นร้อยละ 92.60 ส่งเสริม สนับสนุน
ดูแล ติดตามพฤติกรรมนักเรียนระหว่างบ้าน โรงเรียน
และชุมชน คิดเป็นร้อยละ
92.84 ความรู้ในท้องถิ่นมาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่หลากหลาย คิดเป็นร้อยละ
92.50
ผลจากการประเมินโครงการ พบว่า โครงการการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กเรียนร่วม ปีการศึกษา 2565
ประสบความสำเร็จสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 94.45